เป็นรางวัลที่จัดตั้งขึ้นโดยคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ
เพื่อมอบให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั่วโลก ที่ดำเนินการด้านการให้บริการสาธารณะด้วยความเป็นมืออาชีพ
ซึ่งสำนักงานเลขาธิการแห่งสหประชาชาติ ได้เปิดให้ประเทศสมาชิกเสนอชื่อองค์การและหน่วยงานภาครัฐสมัครเข้ารับการคัด
เลือกเป็นประจำทุกปี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) เป็นต้นมา และสำนักงาน
ก.พ.ร. ได้ส่งเสริม สนับสนุนให้ส่วนราชการที่มีผลงานการยกระดับพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน
ส่งผลงานเพื่อสมัครขอรับดังกล่าวมาตั้งแต่ปี ค.ศ.2007 (พ.ศ. 2550)
จนถึงปัจจุบัน เพื่อเผยแพร่ผลงานการพัฒนาคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐของไทยสู่
เวทีโลก ซึ่งปรากฏว่ามีหน่วยงานได้รับรางวัลดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง
ศึกษาข้อมูลการประกวด รางวัล ก.พ.ร. และรางวัล United Nations Public Service Awards
- สำนักงาน ก.พ.ร. ชี้แจง รางวัลในประเทศ ดูรายละเอียดได้ที่ สำนักงาน ก.พ.ร. ที่ www.opdc.go.th
- ศึกษารายละเอียด เกณฑ์ประกวดรางวัล UN ที่ Website ของ UN Public Service Awards ที่ www.unpsa.org
เสนอขอรับรางวัลในประเทศ (ก.พ.ร.) และ United Nations Public Service Awards
- ให้ผู้เสนอผลงานเสนอขอรับรางวัลจากสำนักงาน ก.พ.ร. ก่อน
- เพื่อหาจุดอ่อน / จุดแข็งในการเขียน
- ปรับปรุงเนื้อหาก่อนส่งประกวด UN
- เพื่อสำนักงาน ก.พ.ร. จะได้ออกหนังสือรับรองให้
- นำเนื้อหาที่ประกวดรางวัลภายในประเทศส่ง ประกวด UN
- แสดงถึงความโดดเด่นของนวัตกรรม
- ผลที่ได้รับ (Impact)
- การขยายผล
เลือกหมวดที่เสนอขอรับรางวัล
รางวัล United Nations Public Service Awards มีประเภทหมวดรางวัลจำนวน 5 หมวด (Category) ดังนี้
Category 1: Preventing and combating corruption in the public service
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในการบริการสาธารณะ
Category 1: Preventing and combating corruption in the public service
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในการบริการสาธารณะ
Category2:
Improving the delivery of services
การปรับปรุงการส่งมอบบริการที่ดี
Category 3:
Fostering Participation in Policy-Making Decisions Through Innovative
Mechanismsการปรับปรุงการส่งมอบบริการที่ดี
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงนโยบายผ่านกลไกนวัตกรรม
Category 4:
Promoting Whole-of-Government Approaches in the Information Age
การบูรณาการหน่วยงานภาครัฐเพื่อส่งมอบบริการที่ดี (Knowledge Management)
การบูรณาการหน่วยงานภาครัฐเพื่อส่งมอบบริการที่ดี (Knowledge Management)
Category 5:
Promoting gender-responsive delivery of public services
การส่งเสริมความเท่าเทียมในสิทธิสตรีในการบริการสาธารณะ
การส่งเสริมความเท่าเทียมในสิทธิสตรีในการบริการสาธารณะ
ศึกษาเกณฑ์และข้อกำหนดในแต่ละ Category ซึ่งจะมีประเด็นหลักและรายละเอียดย่อย
ดูผลงานที่จะเสนอเข้าหมวดใดได้บ้าง
- ดูผลงานว่าสามารถจะเสนอขอรับรางวัลจากหมวดใด (Category) ได้บ้าง
- ศึกษาเกณฑ์การประเมินและรายละเอียดของแต่ละหมวด (Criteria & Description)
- ถ้าผลงานสอดคล้องกับเกณฑ์หมวดใดมากที่สุด ให้เสนอขอรับรางวัลจากหมวดนั้น
- (ผลงานที่จะเสนอ = Category ? = Criteria & Description)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น