วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

วิธีปฏิบัติและผลการดำเนินงานที่เป็นแบบอย่างที่ดีหรือนวัตกรรมที่สร้างขึ้น” ของคณะวิชา

จากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2555
ผู้ประเมินได้ให้ข้อเสนอแนะในหัวข้อ “จุดเด่นใน 4 พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา (การเรียนการสอน การวิจัยและงานสร้างสรรค์ บริการทางวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม) วิธีปฏิบัติและผลการดำเนินงานที่เป็นแบบอย่างที่ดีหรือนวัตกรรมที่สร้างขึ้น” ของคณะวิชา ดังนี้
  • คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์
    1.  บุคลากรมีความโดดเด่น มีศักยภาพสูงในด้านการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม
    2.  มีศักยภาพในการดำเนินงานด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่ส่งเสริมต่อเอกลักษณ์ และวัฒนธรรม
ของชาติ
  • คณะโบราณคดี
1. คณะโบราณคดีเป็นสถาบันการศึกษาแห่งเดียวในประเทศไทยที่ผลิตบัณฑิตด้านโบราณคดีและมานุษยวิทยา
2. คณะโบราณคดีมีความโดดเด่นในการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ problem based learning
3. คณะโบราณคดีมีบุคลากรที่มีความโดดเด่นด้านการวิจัย ท าให้ได้รับทุนวิจัยจากภายนอกจ านวนมาก
4. คณะโบราณคดีมีการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม การที่เกิดจากศึกษาค้นคว้าทั้งทฤษฎี ภาคปฏิบัติและภาคสนาม

  • คณะมัณฑนศิลป์
1. คณะมีบุคลากรที่มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ในด้านวิชาการและวิชาชีพสูง เป็นแหล่งรวมบุคลากรจากอาวุโสถึงรุ่นใหม่ ทําให้มีศักยภาพในดhานการเรียนการสอน การผลิตผลงานวิชาการ และวิชาชีพสูง
2. คณะมีโครงการสนับสนุนนักออกแบบไทยไปสู่สากลซึ่งเป็นโครงการที่ดําเนินการต่อเนื่องมาระยะยาวและมีส่วนในการสนับสนุนผลักดันมาตรฐานทางด้านการออกแบบในระดับนานาชาติ

  • คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
1. คณาจารย์มีศัยกภาพในการท างานวิจัย และ เผยแพร่ผลงานวิจัย และสามารถประยุกต์ในเชิงพาณิชย์
ได้
2. บางภาควิชาฯ มีการน าเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการเรียนการสอนและส่งผลให้คณาจารย์ยัง
สามารถปฏิบัติตามภารกิจได้เป็นอย่างดี
3. มีศักยภาพในการน างานวิจัยไปสู่บริการวิชาการและเป็นที่ยอมรับ คณะควรต่อยอดให้เชื่อมโยงกับการ
เรียนการสอน
4. คณะฯสามารถใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บูรณาการเข้ากับงานท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
และปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตสู่สากล และเพิ่มมูลค่าของผลผลิตชุมชน

  • คณะดุริยางคศาสตร์
1. Master class and workshop เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนการสอน โดยวิทยากรพิเศษที่
หลากหลายทำให้นักศึกษามีโอกาสเรียนรู้และพัฒนาทักษะทางวิชาชีพได้เป็นอย่างดี รวมถึงได้สร้างโอกาสการ
เชื่อมโยงกับเครือข่ายทางวิชาชีพทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
 2. Thailand Jazz Competition เป็นโครงการที่สร้างมาตรฐานทางศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติ
 3. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักเรียนผู้มีความสามารถเป็นเลิศด้านดนตรี เป็นโครงการที่
สร้างโอกาสในการเรียนรู้ สร้างพื้นฐานทางดนตรี และพัฒนาเยาวชนเพื่อจะต่อยอดสู่การศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
  •  คณะวิทยาการจัดการ
1. จุดเดนของคณะคือดานการเรียนการสอนที่เปนเรื่องการปฏิบัติและการวิจัย โดยใชกระบวนการ
เรียนการสอนที่มีลักษณะเปน Practice Research Based Learning ที่ใหนักศึกษามีโอกาสฝกปฏิบัติจริง
ทั้งในหองปฏิบัติการและลงพื้นที่ ซึ่งสิ่งเหลานี้จะสรางคุณลักษณะเดนของบัณฑิตทั้งดานความพรอมในการ
ทํางาน การคิดวิเคราะหการวิจัย และสรางความแตกตางของคุณลักษณะของบัณฑิตที่แขงขันได
2. อุปกรณการเรียนการสอน หองปฏิบัติการเรียนงาย แตใชประโยชนไดดี เปดโอกาสใหนักศึกษา
ไดฝกปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม
3. คณะมีงบประมาณกิจกรรมสงเสริมการวิจัยอยางเพียงพอและสามารถนําผลการวิจัยไปใช
ประโยชนเปนรูปธรรม
4. คณะฯ มีความรวมมือกับชุมชนในการวิจัย การบริการทางวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
5. คณะฯ มีบุคลากรในวัยทํางานที่มีพลังพรอมที่จะเรียนรูความกาวหนาใหมๆ ในเชิงวิชาการและ
ทํางานรวมกัน
  • วิทยาลัยนานาชาติ
1. หลักสูตรของวิทยาลัยนานาชาติ เป็น Double degree
2. การเรียนการสอนที่เน้นให้นักศึกษามีโอกาสฝึกปฏิบัติงานจริงและสนับสนุนการเข้าประกวดหรือแข่งขัน ทำ
ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีประสบการณ์ทำงานและแก้ปัญหาจึงสามารถปฏิบัติงานให้กับผู้ใช้บัณฑิตได้ทันที
3. การเรียนการสอนรายวิชาทางศิลปะ วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว ด้วยภาษาต่างประเทศเป็นสิ่งที่ส่งเสริม
โอกาสและความสามารถในการแข่งขันของบัณฑิตวิทยาลัยนานาชาติในสถานการณ์เคลื่อนย้ายแรงงานเสรี
ในสมาคมประชาชาติอาเซียน
4. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนางานวิจัยของคณาจารย์
5. มีการบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการและการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมดีมาก

  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1. หลักสูตรของคณะฯ มีการบูรณาการระหวางศาสตรและสอดรับกับอัตลักษณของมหาวิทยาลัย และมี
การจัดกิจกรรมที่นักศึกษาทุกสาขามีสวนรวม
 2. มีแนวปฏิบัติที่ดีในการประสานความรวมมือระหวางคณะฯ และ ผูทรงคุณวุฒิภายนอก ศิษยเกา ที่มา
เปนผูทรงคุณวุฒิ และอาจารยผูสอน โดยมีกระบวนการในการรับฟงขอคิดเห็น และนํามาปรับปรุงการเรียนการ
สอน
 3. คณาจารยและนักศึกษามีความใกลชิดกัน ทั้งคณาจารยและนักศึกษาไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูกับ
ผูเชี่ยวชาญ และมีการปฏิบัติงานจริง ทําใหนักศึกษาที่จบไปแลวสามารถสูตลาดแรงงานได



ที่มา รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของคณะวิชา ประจำปีการศึกษา 2555



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น