คณะโบราณคดีโดยภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
(1) ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการขอทุนสนับสนุนการวิจัย (2) ความรู้เกี่ยวกับการตั้งประเด็นวิจัยและวิธีการวิจัยทางประวัติศาสตร์ศิลปะ (3) ความรู้เกี่ยวกับการเผยแผร่ผลงานวิจัย (4) รวบรวมผลงานวิจัยและผลงานวิชาการอื่นๆ ของศาสตราจารย์ หรือรองศาสตราจารย์ ในภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับคณาจารย์ท่านอื่นๆ
คณะอักษรศาสตร์
โครงการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการขอทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (เอกสารหมายเลข arts 7.2.6)
คณะศึกษาศาสตร์
การเพิ่มประสิทธิภาพการวิจัยอย่างสร้างสรรค์ http://www.educ.su.ac.th/images/stories/KM2.pdf
คณะเภสัชศาสตร์
มีการจัดโครงการการจัดการความรู้ โดยเชิญบุคลากรภายในหรือภายนอกที่มีผลงานดีเด่นทางด้านวิชาการและผลงานทางด้านวิจัย เช่น การให้ความรู้แก่ผู้บริหารของคณะวิชา ในเรื่องการจัดการความรู้และการบริหารความเสี่ยง โดยเชิญ อาจารย์ ดร.ชาคร วิภูษณวนิช เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2554 และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณาจารย์ในภาควิชาในการประชุมต่าง ๆ มาถ่ายทอดความรู้ เคล็ดลับ หรือนวัตกรรม แนวปฏิบัติที่ดี โดยมีเวทีการจัดประชุมสัมมนา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับเจ้าของความรู้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย/คณะวิชา/หน่วยงานเทียบเท่า (เอกสารหมายเลข ภส.7.2.2-1, ภส.7.2.2-4, ภส.7.2.2-5 และ ภส.7.2.3-1 ถึง ภส.7.2.3-4)
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มีการจัดโครงการการจัดการความรู้ด้านการวิจัยโดยเชิญอาจารย์และบุคคลภายนอกที่มีผลงานด้านการวิจัยในดีเด่น มาถ่ายทอดความรู้ เคล็ดลับ หรือนวัตกรรม แนวปฏิบัติที่ดีให้กับคณาจารย์ เพื่อการพัฒนาองค์กร ในส่วนของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยังได้จัดให้มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานและจัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะวิชาอื่น (วศ 7.2.3-5 รายงานผลการดำเนินงานโครงการสัมมนาในหัวข้อ “การระดมความคิดเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพในการทำวิจัยของคณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ” วศ 7.2.3-6 คู่มือการปฏิบัติงาน วศ 7.2.3-7 www.eng.su.ac.th KM การจัดการความรู้)
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและสามารถนำไปใช้ได้จริง คณะฯ ได้รวบรวมองค์ความรู้จากคณาจารย์ที่มีประสบการณ์ในการทำวิจัยทั้งภายนอกและภายใน โดยภายนอกคณะฯ ได้รวบรวมองค์ความรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉรีย์ จันทลักขณา และจากคณาจารย์ที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยทั้งที่อยู่ระหว่างการทำวิจัยและดำเนินการวิจัยเสร็จสิ้นแล้ว
คณะวิทยาการจัดการ
การวิจัย โดยได้ทำการรวบรวมเอกสารจากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนาของอาจารย์ทางด้านการวิจัยในปีการศึกษา 2553 และนำเอกสารที่ได้รับทั้งหมดมารวบรวมเป็นหมวดหมู่ใน ด้านการวิจัย และเพื่อให้สามารถเข้าถึงความรู้ จึงได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความสามารถด้านการวิจัยมาเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ (เอกสารหมายเลข วก 7.2.4-3 ถึง วก 7.2.4-5)
(1) ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการขอทุนสนับสนุนการวิจัย (2) ความรู้เกี่ยวกับการตั้งประเด็นวิจัยและวิธีการวิจัยทางประวัติศาสตร์ศิลปะ (3) ความรู้เกี่ยวกับการเผยแผร่ผลงานวิจัย (4) รวบรวมผลงานวิจัยและผลงานวิชาการอื่นๆ ของศาสตราจารย์ หรือรองศาสตราจารย์ ในภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับคณาจารย์ท่านอื่นๆ
คณะอักษรศาสตร์
โครงการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการขอทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (เอกสารหมายเลข arts 7.2.6)
คณะศึกษาศาสตร์
การเพิ่มประสิทธิภาพการวิจัยอย่างสร้างสรรค์ http://www.educ.su.ac.th/images/stories/KM2.pdf
คณะเภสัชศาสตร์
มีการจัดโครงการการจัดการความรู้ โดยเชิญบุคลากรภายในหรือภายนอกที่มีผลงานดีเด่นทางด้านวิชาการและผลงานทางด้านวิจัย เช่น การให้ความรู้แก่ผู้บริหารของคณะวิชา ในเรื่องการจัดการความรู้และการบริหารความเสี่ยง โดยเชิญ อาจารย์ ดร.ชาคร วิภูษณวนิช เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2554 และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณาจารย์ในภาควิชาในการประชุมต่าง ๆ มาถ่ายทอดความรู้ เคล็ดลับ หรือนวัตกรรม แนวปฏิบัติที่ดี โดยมีเวทีการจัดประชุมสัมมนา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับเจ้าของความรู้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย/คณะวิชา/หน่วยงานเทียบเท่า (เอกสารหมายเลข ภส.7.2.2-1, ภส.7.2.2-4, ภส.7.2.2-5 และ ภส.7.2.3-1 ถึง ภส.7.2.3-4)
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มีการจัดโครงการการจัดการความรู้ด้านการวิจัยโดยเชิญอาจารย์และบุคคลภายนอกที่มีผลงานด้านการวิจัยในดีเด่น มาถ่ายทอดความรู้ เคล็ดลับ หรือนวัตกรรม แนวปฏิบัติที่ดีให้กับคณาจารย์ เพื่อการพัฒนาองค์กร ในส่วนของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยังได้จัดให้มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานและจัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณะวิชาอื่น (วศ 7.2.3-5 รายงานผลการดำเนินงานโครงการสัมมนาในหัวข้อ “การระดมความคิดเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพในการทำวิจัยของคณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ” วศ 7.2.3-6 คู่มือการปฏิบัติงาน วศ 7.2.3-7 www.eng.su.ac.th KM การจัดการความรู้)
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและสามารถนำไปใช้ได้จริง คณะฯ ได้รวบรวมองค์ความรู้จากคณาจารย์ที่มีประสบการณ์ในการทำวิจัยทั้งภายนอกและภายใน โดยภายนอกคณะฯ ได้รวบรวมองค์ความรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉรีย์ จันทลักขณา และจากคณาจารย์ที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยทั้งที่อยู่ระหว่างการทำวิจัยและดำเนินการวิจัยเสร็จสิ้นแล้ว
คณะวิทยาการจัดการ
การวิจัย โดยได้ทำการรวบรวมเอกสารจากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนาของอาจารย์ทางด้านการวิจัยในปีการศึกษา 2553 และนำเอกสารที่ได้รับทั้งหมดมารวบรวมเป็นหมวดหมู่ใน ด้านการวิจัย และเพื่อให้สามารถเข้าถึงความรู้ จึงได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความสามารถด้านการวิจัยมาเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ (เอกสารหมายเลข วก 7.2.4-3 ถึง วก 7.2.4-5)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น