- ควรที่จะทำเรื่องที่ตนเองสนใจอย่างจริงจัง และมีความถนัดเป็นพิเศษ เพราะจะทำให้งานออกมาดี
- บทความที่เขียนควรเป็นเรื่องที่ทันสมัย และสังคมให้ความสนใจในปัจจุบัน
- ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเรื่องที่เขียนอย่างใกล้ชิด
- เลือกวารสารที่ตรงกับเรื่องที่เขียน
- ควรระวังคำต่อไปนี้เพราะอาจจะใช้บ่อยเกินไป เช่น โดย ซึ้ง ดังนั้น และ จึง
- การใช้สถิติ ควรเลือกใช้ให้เหมาะกับผู้วิจัย
การเขียนชื่อเรื่องที่ดี
- ชื่อเรื่องควรบอกได้ว่า อะไร เพื่ออะไร กับใคร ที่ไหนและมีความชัดเจน เปรียบเหมือนเวทีมวย ที่มีเชือก 3 เส้นและมีกรอบ 4 ด้านป้องกันนักมวยออกนอกเวที
- ไม่วกวน อ่านและดีความไปได้หลายอย่าง
การเขียนบทคัดย่อที่ดีต้องมีส่วนประกอบที่สำคัญดังนี้
- วัตถุประสงค์คืออะไร
- ใช้วิธีการใดในการศึกษา
- เกิดผลอย่างไร
- สรุปผลการวิจัย
การเขียนอภิปรายผลที่ดีควรมีลักษณะต่อไปนี้
- เขียนว่าพบอะไรบ้าง
- ผลที่ได้เหมือนหรือแตกต่างจากผู้วิจัยคนอื่นๆ
- เข้าใจง่ายไม่ยาวจนเกินไป เขียนในความเป็นจริงที่เกิดขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับ
- การเขียนบทความต้องใส่ใจถึงรายละเอียดอย่างมาก เพราะถ้าผิดเพียงเล็กน้องก็จะทำให้งานไม่ได้ลงในวารสาร และไม่มีความน่าเชื่อถือ
- วิธีการเขียนบทความวิจัย เพื่อให้ได้ลงในวารสาร
- นำความรู้ที่ได้ฟังบรรยายมาปรับใช้ในการทำวิทยานิพนธ์ของเราได้
- นำแนวความคิด มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของตัวเอง
ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/537098 สรุปการฟังบรรยายเรื่อง การเขียนบทความวิชาการ เมื่อวันที่ 25 พ.ค. 2556
- บทความที่เขียนควรเป็นเรื่องที่ทันสมัย และสังคมให้ความสนใจในปัจจุบัน
- ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเรื่องที่เขียนอย่างใกล้ชิด
- เลือกวารสารที่ตรงกับเรื่องที่เขียน
- ควรระวังคำต่อไปนี้เพราะอาจจะใช้บ่อยเกินไป เช่น โดย ซึ้ง ดังนั้น และ จึง
- การใช้สถิติ ควรเลือกใช้ให้เหมาะกับผู้วิจัย
การเขียนชื่อเรื่องที่ดี
- ชื่อเรื่องควรบอกได้ว่า อะไร เพื่ออะไร กับใคร ที่ไหนและมีความชัดเจน เปรียบเหมือนเวทีมวย ที่มีเชือก 3 เส้นและมีกรอบ 4 ด้านป้องกันนักมวยออกนอกเวที
- ไม่วกวน อ่านและดีความไปได้หลายอย่าง
การเขียนบทคัดย่อที่ดีต้องมีส่วนประกอบที่สำคัญดังนี้
- วัตถุประสงค์คืออะไร
- ใช้วิธีการใดในการศึกษา
- เกิดผลอย่างไร
- สรุปผลการวิจัย
การเขียนอภิปรายผลที่ดีควรมีลักษณะต่อไปนี้
- เขียนว่าพบอะไรบ้าง
- ผลที่ได้เหมือนหรือแตกต่างจากผู้วิจัยคนอื่นๆ
- เข้าใจง่ายไม่ยาวจนเกินไป เขียนในความเป็นจริงที่เกิดขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับ
- การเขียนบทความต้องใส่ใจถึงรายละเอียดอย่างมาก เพราะถ้าผิดเพียงเล็กน้องก็จะทำให้งานไม่ได้ลงในวารสาร และไม่มีความน่าเชื่อถือ
- วิธีการเขียนบทความวิจัย เพื่อให้ได้ลงในวารสาร
- นำความรู้ที่ได้ฟังบรรยายมาปรับใช้ในการทำวิทยานิพนธ์ของเราได้
- นำแนวความคิด มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของตัวเอง
ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/537098 สรุปการฟังบรรยายเรื่อง การเขียนบทความวิชาการ เมื่อวันที่ 25 พ.ค. 2556
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น